Calotes emma alticristatus


กิ้งก่าแก้วเหนือ
Calotes emma alticristatus SCHMIDT, 1925

มีความแตกต่างกับกิ้งก่าแก้วใต้ตรงเกล็ด เกล็ดของชนิดย่อยนี้จะมีขนาดเล็ก และเป็นสันน้อยกว่า เมื่อเทียบกับชนิดทางใต้ และเขาจะมีขนาดเล็กกว่าด้วย มีขนาดตัวใหญ่กว่าชนิดทางใต้ พบอาศัยในป่าดิบชื้น ป่าดิบแล้ง และพบได้ในป่าบุกรุกอีกด้วย กินแมลงเป็นอาหาร ตัวผู้จะมีสีส้มแดงและมีขึดสีขาวสลับกับสีดำบริเวณหน้า วางไข่คราวละ 10-12 ฟอง ลูกแรกเกิดมีสีน้ำตาลอ่อน และจะค่อยๆเปลี่ยนเป็นสีเขียว พบได้ทุกภาค ยกเว้นตั้งแต่จังหวัดประจวบลงไป ซึ่งจะเป็นชนิดทางใต้


ลักษณะเกล็ดและเขาที่มีขนาดเล็กของกิ้งก่าตัวเมียเต็มวัย และกิ้งก่าวัยอ่อน(เขาหินปูน สระบุรี)